ยาฆ่าเพลี้ยจักจั่นมะม่วง ปลอดสารพิษ ปราบเพลี้ยจักจั่นมะม่วงช่วงออกดอก
ในระยะเข้าสู่ช่วงที่มะม่วง เริ่มแทงช่อดอกจนถึงระยะพัฒนาผล กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรชาวสวนมะม่วงให้เฝ้าระวัง สังเกตการเข้าทำลายของ เพลี้ยจักจั่นมะม่วง มักพบตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเข้าทำลายใบอ่อน ช่อดอก ก้านดอก และยอดอ่อน โดยระยะที่มะม่วงกำลังออกดอกจะเกิดความเสียหายมากที่สุด
เพลี้ยจักจั่นมะม่วง จะดูดกินน้ำเลี้ยงจากช่อดอก ทำให้ดอกแห้ง ดอกร่วง และติดผลน้อยหรือไม่ติดผล ขณะที่เพลี้ยจักจั่นดูดกินน้ำเลี้ยงจะถ่ายมูล เป็นน้ำหวานเหนียวๆ ติดตามใบ ช่อดอก ผล และรอบทรงพุ่ม ทำให้ใบเปียก เกิดราดำปกคลุมมาก ส่งผลต่อการสังเคราะห์แสงของใบ ส่วนใบอ่อน (ใบเพสลาด) จะบิดงอโค้งลง ให้สังเกตด้านใต้ใบมีอาการปลายใบแห้งได้
หลังฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิตมะม่วง ให้เกษตรกรตัดแต่งกิ่งทรงพุ่มต้นมะม่วงให้โปร่งอยู่เสมอ เพื่อช่วยลดที่หลบซ่อนต่อการแพร่ขยายพันธุ์ของ เพลี้ยจักจั่นมะม่วง
จากนั้น ให้เกษตรกรพ่นด้วย สารอินทรีย์ฆ่าแมลง มาคา ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
เกษตรกรควรปรับหัวฉีดให้เป็นแบบละอองฝอย และพ่นให้ทั่วถึงทั้งลำต้นในระยะก่อนที่มะม่วงจะออกดอก 1 ครั้ง มิเช่นนั้น ตัวเต็มวัยจะย้ายไปหลบซ่อนยังบริเวณที่พ่นสารฆ่าแมลงไม่ทั่วถึง ส่วนในระยะที่ช่อดอกบานแล้วไม่ควรพ่นสารฆ่าแมลง เพราะอาจเป็นอันตรายต่อแมลงผสมเกสร และเกษตรกรควรหมั่นตรวจดูตามช่อดอกอยู่เรื่อยๆ ซึ่งหากไม่มีการป้องกันกำจัดแล้ว มะม่วงจะไม่ติดผลเลย
นอกจากนี้ ให้เกษตรกรใช้วิธีในการป้องกันกำจัดเพลี้ยจักจั่นมะม่วงแบบผสมผสาน โดยให้เกษตรกรใช้น้ำ ฉีดล้างช่อดอกและใบ เพื่อช่วยแก้ปัญหาช่อดอกและใบดำจากโรครา หากแรงอัดฉีดของน้ำแรงพอก็ช่วยให้เพลี้ยใน ระยะตัวอ่อนกระเด็นออกจากช่อดอกได้ แต่ให้ระมัดระวังอย่าฉีดน้ำไปกระแทกดอกมะม่วงแรงจนเกินไป เพราะอาจทำให้ดอกหรือผลที่เริ่มติดร่วงได้ และให้เกษตรกรใช้กับดักแสงไฟดักจับตัวเต็มวัยเพลี้ยจักจั่นมะม่วงที่บินมาเล่นไฟ เพื่อช่วยลดความความเสียหาย
สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset.org/html5/customer_update_add_self.aspx
ไลน์ไอดี FarmKaset
โทร 090-592-8614
อ้างอิง
ryt9.com/s/prg/3084312
เพลี้ยจักจั่นมะม่วง จะดูดกินน้ำเลี้ยงจากช่อดอก ทำให้ดอกแห้ง ดอกร่วง และติดผลน้อยหรือไม่ติดผล ขณะที่เพลี้ยจักจั่นดูดกินน้ำเลี้ยงจะถ่ายมูล เป็นน้ำหวานเหนียวๆ ติดตามใบ ช่อดอก ผล และรอบทรงพุ่ม ทำให้ใบเปียก เกิดราดำปกคลุมมาก ส่งผลต่อการสังเคราะห์แสงของใบ ส่วนใบอ่อน (ใบเพสลาด) จะบิดงอโค้งลง ให้สังเกตด้านใต้ใบมีอาการปลายใบแห้งได้
จากนั้น ให้เกษตรกรพ่นด้วย สารอินทรีย์ฆ่าแมลง มาคา ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
นอกจากนี้ ให้เกษตรกรใช้วิธีในการป้องกันกำจัดเพลี้ยจักจั่นมะม่วงแบบผสมผสาน โดยให้เกษตรกรใช้น้ำ ฉีดล้างช่อดอกและใบ เพื่อช่วยแก้ปัญหาช่อดอกและใบดำจากโรครา หากแรงอัดฉีดของน้ำแรงพอก็ช่วยให้เพลี้ยใน ระยะตัวอ่อนกระเด็นออกจากช่อดอกได้ แต่ให้ระมัดระวังอย่าฉีดน้ำไปกระแทกดอกมะม่วงแรงจนเกินไป เพราะอาจทำให้ดอกหรือผลที่เริ่มติดร่วงได้ และให้เกษตรกรใช้กับดักแสงไฟดักจับตัวเต็มวัยเพลี้ยจักจั่นมะม่วงที่บินมาเล่นไฟ เพื่อช่วยลดความความเสียหาย
สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset.org/html5/customer_update_add_self.aspx
ไลน์ไอดี FarmKaset
โทร 090-592-8614
อ้างอิง
ryt9.com/s/prg/3084312
Comments
Post a Comment