โรคราดำมะม่วง มะม่วงเป็นโรคราดำ เพราะเพลี้ยเป็นพาหะนำโรค การป้องกัน กำจัดโรคราดำในมะม่วง ที่ต้นเหตุ

ใบมะม่วง เป็น โรคราดำ

กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรชาวสวนมะม่วง เฝ้าระวังในช่วงที่มีสภาพอากาศแห้งแล้ง ให้เกษตรกรหมั่นสังเกตการระบาดของโรคราดำ มักพบคราบราสีดำติดตามส่วนต่างๆ ของต้น เช่น ใบ ยอด ช่อดอก และผล ซึ่งจะทำให้ช่อดอกบานช้า หรือบานผิดปกติ เหี่ยว และหลุดร่วงลงได้ บางครั้งอาจทำให้ไม่ติดผล ถ้าพบอาการของโรคที่ผลมะม่วง จะทำให้ ผลเหี่ยวและหลุดร่วงในที่สุด โดยมากจะพบการระบาดของโรคราดำในช่วงที่มีแมลงปากดูด อาทิ เพลี้ยจักจั่น และเพลี้ยแป้ง

นอกจากนี้ หากพบการระบาดของโรคราดำ ให้เกษตรกรพ่นด้วยน้ำเปล่าล้างสารเหนียวที่แมลงปากดูด ขับถ่ายไว้และคราบราดำ เพื่อลดปริมาณเชื้อสาเหตุโรค เนื่องจากเชื้อราจะเจริญบนสารเหนียวที่แมลงปากดูด ขับถ่ายไว้ คือ เพลี้ยจักจั่น และเพลี้ยแป้ง ดังนั้น เกษตรกรควรพ่นด้วยสารกำจัดแมลง กรณีพบเพลี้ยจักจั่น

ฉีดพ่นด้วย มาคา สารอินทรีย์ป้องกันกำจัด เพลี้ย และแมลงจำพวกปากดูด และกำจัดเพลี้ยออกจากแปลงแล้ว แต่โรคราดำ ลุกลามขยายวงออกไป ให้ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา การฉีดพ่น มาคา และไอเอส ให้ฉีดพ่นให้ทั่วบริเวณที่มีโรคระบาด เว้นระยะการพ่นซ้ำ 7 วัน ต่อเนื่อง 2-4 ครั้ง และหมั่นสังเกตุอาการ ในระหว่างช่วงระยะการฉีดพ่นแต่ละระยะ สามารถใช้ FK-1 ในกรณีต้องการให้มะม่วงฟื้นตัวจากการเข้าทำลาย ของโรคราดำได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

การสั่งซื้อสินค้า สั่งซื้อได้ที่
ลิงค์สั่งซื้อ http://www.farmkaset.org/html5/customer_update_add_self.aspx
ไลน์ไอดี FarmKaset
โทร 090-592-8614

ยา ฆ่าเพลี้ย ยาแก้ โรคราดำมะม่วง

Comments

Popular posts from this blog

โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคใบจุดมะพร้าว โรคมะพร้าวต่างๆ ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส

โรคของพืชตระกูลมะเขือ มะเขือใบเหลือง มะเขือใบไหม้ มะเขือใบแห้ง ใบด่าง โรคมะเขือจากเชื้อรา และการป้องกันกำจัด

แก้โรค ทุเรียนกิ่งแห้ง ทุเรียนยอดแห้ง ทุเรียนก้านธูป ด้วยการฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องก้นและยับยั้งเชื้อรา