เพลี้ยไฟทุเรียนระบาด ใช้ ยาฆ่าเพลี้ย มาคา ปลอดสารพิษ



เพลี้ยไฟจะระบาดในสวนทุเรียน เกษตรควรหมั่นสังเกตุ และป้องกันกำจัด เพื่อยับยังการระบาด สร้างความเสียหายไปในวงกว้าง ในช่วงสภาพอากาศแดดแรง ร้อนและแห้งแล้ง ความชื้นต่ำ เป็นสภาวะอากาศที่เอื้ออำนวย ให้เพลี้ยไฟระบาดได้


เราควรหมั่นสำรวจต้นทุเรียนอย่างสม่ำเสมอ การสังเกตเพลี้ยไฟที่เข้าทำลายพืชในระยะเริ่มแรกได้ยากด้วยตาเปล่า การป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟให้ได้ผลดี จึงเป็นเรื่องยากสำหรับเกษตรกร

ลักษณะ เพลี้ยไฟเข้าทำลายทุเรียน ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยทําลายทุเรียนในระยะใบอ่อน เพลี้ยไฟจะดูดกินน้ำเลี้ยง ซึ่งจะเห็นอยู่ตามเส้นกลางใบ เส้นกลางใบจะเป็นสีน้ำตาล ทําให้ใบหงิก ถ้ารุนแรงอาจทําให้ใบอ่อนร่วงได้ ในระยะดอกอ่อนและดอกบานจะพบเพลี้ยไฟตามดอก ถ้าดอกบานจะอาศัยอยู่ตามเกสร กลีบดอก ทําให้การผสมเกสรไม่สมบูรณ์ และดอกร่วง ระยะหางแย้ไหม้ – ผลอ่อน จะพบตามซอกหนามทุเรียน ทําให้หนามทุเรียนติดกัน เมื่อลูกโตจะเป็นทุเรียนหนามจีบหรือหนามติด ส่งผลให้ราคาตกต่ำ

เพลี้ยไฟทุเรียน

วิธีป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟทุเรียน

1. หากพบเพลี้ยไฟระบาดเล็กน้อย ให้ตัดส่วนที่ถูกทำลายทิ้ง

2. หากพบเพลี้ยไฟระบาด ใช้ ยาฆ่าเพลี้ยไฟ มาคา สารอินทรีย์ป้องกันและกำจัดเพลี้ยไฟ เพลี้ย และแมลงศัตรูพืชจำพวกปากดูดต่างๆ ในอัตราส่วน 50cc ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วบริเวณแปลง ที่พบ เพลี้ยไฟทุเรียนระบาด เว้นระยะห่าง 7 วัน ฉีดพ่นซ้ำ ต่อเนื่อง 2-4 ครั้ง ระหว่างสังเกตุอาการ จำนวณครั้งของการฉีดพ่น ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการระบาด

3.ฉีดพ่น FK-1 เพื่อเร่งบำรุงต้นทุเรียน ให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของเพลี้ยไฟ และกลับมาเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง ให้ผลผลิตได้ดี

สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset.org/html5/customer_update_add_self.aspx
ไลน์ไอดี FarmKaset
โทร 090-592-8614

ยาฆ่าเพลี้ยไฟทุเรียน

อ้างอิงบางส่วนจาก songkhlatoday.com/content/23335/

Comments

Popular posts from this blog

โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคใบจุดมะพร้าว โรคมะพร้าวต่างๆ ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส

โรคของพืชตระกูลมะเขือ มะเขือใบเหลือง มะเขือใบไหม้ มะเขือใบแห้ง ใบด่าง โรคมะเขือจากเชื้อรา และการป้องกันกำจัด

แก้โรค ทุเรียนกิ่งแห้ง ทุเรียนยอดแห้ง ทุเรียนก้านธูป ด้วยการฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องก้นและยับยั้งเชื้อรา