Posts

Showing posts from December, 2021

ยาป้องกันกำจัด โรคมะลิ โรคใบไหม้ ราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนในมะลิ ยาฆ่าเพลี้ย แมลงศัตรูมะลิ โปรดอ่านรายละเอียดก่อนเลือกสั่งซื้อ

Image
การป้องกันและกำจัดโรคมะลิ เพลี้ยแมลงศัตรูของมะลิ หนอนมะลิ อาการขาดธาตุอาหารพืช ที่จะแสดงออกในมะลิ โรคแอนแทรคโนสมะลิ  โรคแอนแทรโนสนั้น มีสาเหตุจากเชื้อรา อาการจะมีจุดสีน้ำตาลอ่อนบนใบ และลุกลามเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ขอบของแผลที่เป็นวง จะแห้ง กรอบ แผลจะขยายใหญ่ขึ้น จนทำให้ใบแห้ง การระบาดของโรค เชื้อราจะปลิวไปกับลม และฝน การรักษา จึงต้องฉีดพ่นสารอินทรีย์สำหรับ ป้องกัน กำจัด ให้ครอบคลุมบริเวณ การป้องกันกำจัด โรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ผสมด้วย FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ตามอัตราส่วนผสมที่แนะนำด้านล่างบทความนี้ เนื่องจากพืชที่เป็นโรคนั้น จะอ่อนแอ ไม่สมบูรณ์แข็งแรง จึงฟื้นตัวจากโรคได้ยาก จึงต้องให้ ธาตุหลัก ธาตุเสริม ไปพร้อมกัน ยกตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น อาการ ใบไหม้ ใบจุด ใบขีดสีน้ำต้าง โรคใบติด ราสนิม ราน้ำค้าง แอนแทรคโนส ไฟท็อปโธร่า เป็นต้น ทั้งอาการใบไหม้ และใบเหลือง เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาจเกิดได้จากโรค และการขาดธาตุอาหารพืชที่จำเป็น รวมถึงการให้น้ำ และการได้รับแสงแดด ซึ่งการพิจารณาสาเหตุ

โรคใบไหม้ ในข้าวโพด โรคราต่างๆ เพลี้ยแมลงศัตรู หนอน ปุ๋ยบำรุง โปรดอ่านรายละเอียด และวิธีใช้งานก่อนสั่งซื้อ

Image
การป้องกันกำจัดโรคข้าวโพด ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา การกำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูข้าวโพดต่างๆ ควรทำควบคู่กับการให้ธาตุอาหารพืช ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรง ให้ข้าวโพด หายจากโรคพืชได้ไว ต้านทานต่อโรคและแมลงได้ดีขึ้น ให้ผลผลิตที่ดีขึ้น โรคใบไหม้แผลใหญ่ในข้าวโพด (Northern Corn Leaf Blight) เชื้อสาเหตุโรคใบไหม้แผลใหญ่ในข้าวโพด : เชื้อรา Exserohilum turcicum อาการโรคใบไหม้แผลใหญ่ในข้าวโพด : อาการเริ่มแรกพบแผลขนาดเล็กสีคล้ายฟางข้าวบนใบข้าวโพด ต่อมาแผลจะขยายมีขนาดใหญ่สีเทาหรือสีน้ำตาลอ่อนยาวตามใบข้าวโพดหัวท้ายเรียวคล้ายรูปกระสวย เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสม จะพบอาการแผลบนใบข้าวโพดหลายแผลต่อใบและแผลขยายรวมกันมาก ๆ ทำให้ใบข้าวโพดแห้งตาย สามารถพบอาการของแผลได้บนกาบฝัก ข้าวโพดที่เป็นโรครุนแรงจะทำให้ฝักไม่สมบูรณ์ การป้องกันกำจัดโรคใบไหม้แผลใหญ่ในข้าวโพด 1. ปลูกพืชหมุนเวียน เผาทำลายเศษซากพืชเป็นโรค 2. การเขตกรรมที่เหมาะสม ไม่ปลูกพืชหนาแน่นและใส่ปุ๋ยไนโตรเจนปริมาณสูง 3. ใช้พันธุ์ต้านทานต่อโรค 4. หมั่นตรวจสอบไร่อยู่เสมอ เมื่อพบโรคให้ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและกำจัด

โรคมะนาว รา ใบไหม้ โรคใบแก้ว เพลี้ยมะนาว อาการขาดธาตุสังกะสี โปรดอ่านรายละเอียดเพื่อการใช้ที่ถูกต้อง ก่อนเลือกซื้อ

Image
โรคราดำมะนาว เกิดจากเพลี้ยถ่ายของเหลวเหนียว ต้องรักษาทั้งรา กำจัดเพลี้ย และบำรุงให้ฟื้นตัว จะพบอาการแสดงได้ทั้งที่บริเวณ ใบ กิ่ง ก้าน และผลของมะนาว อาการของโรคราดำนี้ เกิดได้จาก เพลี้ยแมลงศัตรู เกาะ ดูดน้ำเลี้ยงที่ใบ กิ่งก้าน และถ่ายของเหลวเหนียวไว้ตรงบริเวณต่างๆ ทำให้ราดำที่ปลิวอยู่ในอากาศ ยึดเกาะติด ตามบริเวณกิ่ง ก้าน ใบ ผล ของมะนาวได้โดยง่าย และลุกลามแพร่ระบาด  โรคราดำในมะนาวนี้ ใช้ ไอเอส เพื่อป้องกันกำจัดรา ใช้ มาคา เพื่อป้องกันกำจัดเพลี้ย และใช้ FK-1 เพื่อบำรุงให้มะนาวฟื้นตัว สมบูรณ์ แข็งแรง ต้านทานต่อโรค และกลับมาให้ผลผลิตดี ผสมในอัตราส่วนที่แนะนำตามด้านล่างบทความ สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกัน อาการใบซีดเหลือง โรคใบแก้ว ที่เกิดจากอาการขาดธาตุสังกะสี Zinc Deficienzy อาการมะนาวขาดธาตุสังกะสี หรือ Zinc นั้น จะแสดงที่ใบอ่อนก่อน เนื้อใบระหว่างเส้นแกนใบจะมีอาการซีดจาง ต่อมาจะเริ่มกลายเป็นสีเหลืองมากขึ้นที่เนื้อใบ แต่สังเกตุได้ว่า เส้นใบจะยังเขียวอยู่ อาการขาดธาตุสังกะสีนี้ จะพบกระจายอยู่ทั่วทั้งต้น ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแตสเซียม แมกนีเซียม สังกะสี และสารจับใบในกล่อ

ยารักษาโรคใบไหม้ในมังคุด โรคมังคุดจากเชื้อรา ยาไล่เพลี้ย แมลงศัตรูมังคุด โปรดอ่านรายละเอียดการใช้ก่อนสั่งซื้อ

Image
  อาการใบไหม้ของมังคุด ใบแห้ง หรือใบจุดสีน้ำตาล สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Pestalotiopsis sp. ลักษณะอาการ ที่ปรากฎให้เห็น ใบมังคุด จะแสดงอาการใบแห้งเป็นจุดสีเทา และมีขนาดใหญ่ ตรงกลางแผลมีจุดสีดำเป็นจุด ๆ อยู่ประปราย ถ้าอาการใบแห้งมาก ต้นมังคุดจะทรุดโทรม ผลผลิตตกต่ำ พบระบาดในระยะแตกใบอ่อน โรคมังคุดใบไหม้ (Leaf blight) ในความเป็นจริงแล้ว อาการเกิดโรคต่างๆของมังคุด และการเข้าโจมตีของแมลงศัตรูพืช มีสาเหตุหลักๆเลยคือ ต้นมังคุดของเราเอง อ่อนแอ ไม่ต้านทานต่อโรค อาจเป็นสาเหตุจากการขาด ธาตุหลัก NPK หรืออาจจะเป็นธาตุรอง ธาตุเสริมบางตัว ที่จำเป็นต่อการสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรค ในต้นมังคุด การป้องกัน กำจัดโรคราต่างๆในมังคุด ต้องให้ยายับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา และ ให้ธาตุอาหารพืช ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม เพื่อส่งเสริมให้มังคุดแข็งแรง และฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคพืชจากเชื้อราได้ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา ผสมกับ FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริมที่ครบถ้วน ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกัน ตามอัตราส่วน ที่ระบุไว้ด้านล่างบทความ พืชที่เป็นโรคจากเชื้อรานั้น จะมีความอ่อนแ

โรคในผักกวางตุ้ง ราต่างๆ ใบไหม้ เพลี้ย และ หนอน ในผักกวางตุ้ง ใช้ยาต่างกัน โปรดอ่านรายละเอียดก่อนสั่งซื้อ

Image
ยายับยั้งและป้องกัน โรคใบไหม้ โรคต่างๆจากเชื้อรา ยาแก้เพลี้ย ยากำจัดหนอน และปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตั้ง กวางตุ้งฮ่องเต้ และ กวางตุ้งดอกฮ่องกง หนอนใยผัก ใน ผัก กวางตุ้ง และหนอนคืบกะหล่ำ ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ใน ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน เพลี้ยอ่อน ผัก กวางตุ้ง และเพลี้ยต่างๆ อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ใน ผัก กวางตุ้ง ฉี

ยารักษาโรคราต่างๆในแก้วมังกร เช่น โรคลำต้นจุด ราสนิม เปลือกผลเน่า โปรอ่านรายละเอียดและวิธีใช้ก่อนสั่งซื้อ

Image
โรคลำต้นจุดสีน้ำตาลของแก้วมังกร เกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp. เป็นโรคระบาดในแก้วมังกร ที่พบได้ทุกระยะการเติบโต อาการเริ่มแรกนั้น จะพบจุดสีเหลือง ตามกิ่ง หรือผลแก้วมังกร และพัฒนาเป็นตุ่มเล็กๆสีน้ำตาล คล้ายกับสนิมเหล็ก  หากอาการรุนแรงขึ้น จะทำให้กลีบของผลแก้วมังกรแห้ง ไหม้เป็นสีดำ จนไปถึงอาการผลเน่า ทำให้ผลผลิตเสียหาย ควรเฝ้าระวังหมั่นตรวจสอบ และป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มเห็นอาการจุดสีน้ำตาล หรือเริ่มเป็นจุดสีเหลืองเล็กๆ โรคแก้วมังกรลำต้นจุด ลำต้นแห้งไหม้ ราสนิม เปลือกผลเน่า เหล่านี้ ล้วนมีสาเหตุจากเชื้อรา การป้องกันกำจัดนั้น ต้องให้ยายับยั้งการลุกลามระบาด พร้อมกับธาตุรอง ธาตุเสริม เพื่อฟื้นฟูแก้วมังกร ให้กลับมาสมบูรณ์แข็งแรง ในขณะที่ค่อยๆหายจากโรค การให้เฉพาะยากำจัดโรคพืชนั้น จะทำให้เชื้อราแห้ง ฝ่อตายลงไป แต่แผล หรือความเสียหายจากการเข้าทำลายของโรครานั้น จะฟื้นคืนมาเขียวเหมือนเดิมได้ช้า ถ้าเป็นหนักก็ฟื้นคืนเหมือนเดิมไม่ได้ การให้ ธาตุหลัก ธาตุเสริม ไปพร้อมกับยา จึงช่วยกระตุ้นการสร้างเซลล์ใหม่ เสริมพลังงานให้กับพืช ได้มีความสามารถดูดกินอาหาร และสังเคราะห์แสดงได้ดีขึ้น ทำให้แก้วมังกร กลับม

ยารักษา โรคใบจุด ใบเหลือง ไหม้ ใน กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก คะน้า ผักกาดขาว บรอกโคลี และตระกูลกะหล่ำ โปรดอ่านข้อมูลก่อนการใช้

Image
โรคที่พบในพืชตะกูลกะหล่ำ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น ใบจุด ใบไหม้ ใบแห้ง ใบเหลือง ที่เกิดกับ กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก คะน้า ผักกาดขาว โรคที่มีสาเหตุจากเชื้อราดังกล่าว เหล่านี้ พบได้ในทุกฤดูการ ระบาดแพร่ขยายวงกว้างได้อย่างรวดเร็ว และพบระบาดมากในช่วงที่อากาศร้อนชื้น หากไม่เร่งป้องกันกำจัด อาจระบาดสร้างความเสียหายต่อผลผลิตเป็นจำนวนมาก โรคในพืชตระกูลกะหล่ำที่เกิดจากเชื้อรานั้น เชื้อราลุกลาม ขยายตัว และจะเข้าทำลายระบบต่างๆของพืช ในขณะที่พืชเป็นโรคนั้น ก็จะอ่อนแอลง ภูมิต้านทานลดลง ขาดความสามารถในการกินอาหาร สร้างพลังงาน และเจริญเติบโตได้ช้า แคระ แกรน โทรมลงได้อย่างรวดเร็ว การป้องกัน กำจัด ดูแลรักษาพืช ที่เป็นโรคจากเชื้อราต่างๆ เช่น อาการใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล ใบเหลืองแห้ง จึงจำเป็นต้อง ให้ธาตุหลัก ธาตุเสริม ไปพร้อมกับยายับยั้งโรคพืช เพื่อให้พืชหายจากโรค และได้รับอาหารเพื่อฟื้นฟู เสริมสร้างความแข็งแรง และพัฒนาการเจริญเติบโต ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืชที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ผสมด้วย FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ในปริมาณสูง ฉีดพ่นไปพร้อมกัน ผสมในอัตราส่วน ตามข้อมูลผลิ

ยาแก้โรคกุหลาบต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา และอาการขาดธาตุ โปรดอ่านวิธีใช้โดยละเอียด

Image
โรคของกุหลาบ (rose diseases) ที่พบโดยส่วนมากแล้ว มักจะมีสาเหตุจากเชื้อรา ซึ่งเมื่อกุหลาบเป็นโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรานั้น การดูแลบำรุงรักษาต้องทำควบคู่กันไป โดยให้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อราต่างๆ ผสมกับ FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ฉีดพ่นไปพร้อมกัน ตามอัตราส่วนที่แนะนำของผลิตภัณฑ์แต่ละตัว ตามด้านล่างของบทความนี้ 1. โรคใบจุด (black spot) เป็นโรคที่รู้จักกันแพร่หลายในวงการปลูกกุหลาบทั่วไป และสามารถเป็นกับต้นพืชได้เกือบตลอดปี โดยเฉพาะฤดูฝนในเดือนที่มีฝนตกสม่ำเสมอ มักเป็นกับใบที่อยู่บริเวณโคนต้นขึ้นมาจนถึงใบบริเวณตามยอด 2. โรคราแป้ง (powdery mildew) เป็นโรคที่เกิดขึ้นกับใบอ่อนหรือยอดอ่อนของต้นพืช โดยบริเวณที่เป็นโรคจะมีลักษณะเป็นปุยคล้ายพรมด้วยผงแป้ง ส่วนของต้นพืชที่เป็นโรคจะหงิกงอผิดปกติ และถ้าเป็นมากบริเวณที่เป็นโรคจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงถึงดำ 3. โรคราสนิม (rust) โรคนี้จะไม่ทำลายร้ายแรงนัก เนื่องจากระยะเวลาที่จะเป็นโรคนี้มีระยะสั้น ในบ้านเราจะพบโรคนี้ในฤดูฝน โดยเฉพาะในเดือนที่มีฝนชุก มักเป็นกับใบแก่บริเวณบนใบ ใบที่เป็นจะมีจุดสีส้มและจะมองเห็นเป็นจุดสีเ

การป้องกันกำจัด โรคราดำทุเรียน (Sooty mold) ต้องกำจัดเพลี้ย ยับยั้งโรครา และบำรุงให้แข็งแรง

Image
โรคราดำทุเรียน (Soot mold) มีสาเหตุจากเชื้อรา สามารถลุกลามระบาดได้รวดเร็ว ส่งผลต่อคุณภาพผลผลิตโดยตรง ทำให้เสียหาย และขายไม่ได้ราคา ลักษณะอาการของ โรคราดำทุเรียน ผลของทุเรียน จะพบราสีดำเป็นจุดๆ กระจายทั่วผลทุเรียน ทำให้มองเป็นเป็นฟื้นสีดำ สร้างความเสียหายให้กับผลทุเรียน ดูไม่สะอาด ไม่เป็นที่ต้องการของตลาด โรคราดำดี้ สามารถแพร่กระจาย ลุกลามไปทั่วสวนได้ หากไม่เร่งป้องกันกำจัด การแพร่ระบาดของโรคราดำทุเรียน การระบาดของราดำนั้น มีเพลี้ยต่างๆเป็นแมลงพาหา ขับถ่ายของเหลว มีความเหนียวลงบนผิวเปลือกทุเรียน ทำให้ราดำที่ปลิวมากับอากาศ เกาะติดผลทำเรียนได้ง่าย และลุกลามระบาดออกไปเป็นวงกว้าง การป้องกันกำจัดโรคดาดำในุเรียน  เนื้องจากโรคราดำทุเรียนนั้น มีเพลี้ยต่างๆเป็นแมลงพาหะ และมีโรคราดำที่ติดต่อ ระบาดลุกลาม เราจึงต้อง กำจัดเพลี้ย ยับยั้งรา และบำรุงทุเรียนให้แข็งแรงในคราวเดียวกัน 1. ผสม ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา มาคา สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดเพลี้ย และ FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อยับยั้งการระบาดลุกลาม  1.1 อัตราผสม ตามส่วนผสมที่แนะนำ ของสิ