ดาวเรืองดอกไหม้ ดาวเรืองใบไหม้ โรคาราแป้งในดาวเรือง โรคเหี่ยวดาวเรือง โรคดาวเรืองใบจุด เหล่านี้มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ยาตัวเดียวกันได้

โรคของดาวเรือง โรคดาวเรืองต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

ดาวเรืองที่เป็น โรคเหี่ยว

โรคเหี่ยวดาวเรือง
โรคเหี่ยวดาวเรือง เกิดจากเชื้อราไฟทอปทอรา จะเกิดกับดาวเรืองที่กำลังเริ่มบานจะมีอาการคล้ายกับดาวเรืองขาดน้ำ เช่น อาการเหี่ยวในตอนกลางวัน ส่วนกลางคืนจะมีอาการปกติ หลังจากนั้นประมาณ 3-4 วัน ดาวเรืองจะเหี่ยวทั้งต้นและตายในที่สุด
              
การป้องกันกำจัด ควรฉีดพ่นด้วยไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา และถอนต้นที่เป็นโรคทิ้ง

โรคราแป้งดาวเรือง

โรคราแป้งดาวเรือง
โรคราแป้งดาวเรือง เกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่งเป็นฝุ่นขาวๆ จะทำให้ใบดาวเรืองหยิก การเจริญเติบโตชะงัก ถ้าเป็นมากอาจทำให้ดาวเรืองตายได้

การป้องกันกำจัด ฉีดพ่นด้วย ไอเอส

โรคดาวเรืองดอกไหม้

โรคดาวเรืองดอกไหม้
โรคดาวเรืองดอกไหม้ เป็นเชื้อราที่เข้าทำลายดอกดาวเรือง ทำให้ดอกเป็นสีน้ำตาลจนไม่สามารถเก็บเกี่ยวได้

การป้องกันกำจัด ทำได้โดยการฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

โรคใบจุดดาวเรือง

โรคดาวเรืองใบจุด
โรคดาวเรืองใบจุด เกิดจากเชื้อรา ALTERNARIA ทำให้ใบมีจุดสีขาว เป็นเหตุให้เนื้อเยื่อเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลอ่อน ใบจะค่อยๆแห้ง ต้นทรุดโทรม

การป้องกันกำจัด ทำได้โดยการ ฉีดพ่น ไอเอส เช่นกัน

โรคดาวเรืองดอกเน่า

โรคดาวเรืองดอกเน่า
โรคดอกเน่าดาวเรือง เกิดจากเชื้อรา COLLETOTRICHUM SP. จะเกิดในระยะที่ดอกกำลังเริ่มเป็นดอกตูม ทำให้ดอกเป็นสีน้ำตาลและดอกไม่สามารถบานได้ หากเชื้อเข้าทำลายในระยะที่ดอกบานจะทำให้กลีบดอกจะมีสีน้ำตาลลามเข้าไปทางโคนกลีบ ทำให้ดอกมีสีน้ำตาลดำ เชื้อเข้าทำลายจากดอกลามสู่ลำต้น

การป้องกันกำจัด ควรฉีดพ่นด้วย ไอเอส และในส่วนของการให้น้ำ ระวังอย่าให้น้ำดาวเรืองชุ่มเกินไปจะทำให้ดาวเรืองติดเชื้อราได้ง่าย หากดาวเรืองมีอาการให้เก็บและเผาทำลาย เพื่อป้องกันการระบาดไปยังดาวเรืองต้นอื่นๆ

โรคไส้กลวงดาวเรือง

โรคไส้กลวงดาวเรือง ดาวเรืองไส้เน่า
โรคดาวเรืองไส้กลวง จะมีลักษณะลำต้นผิดปกติ ใบล่างแห้งกรอบ ลำต้นเล็กลง ใบด้านบนจะชูขึ้น มียอดมาก แต่ไม่สามารถออกดอกได้
              
การป้องกันกำจัด ควรปลูกดาวเรืองโดยยกแปลงให้สูงกว่าปกติ เพื่อให้รากระบายน้ำได้ดี ระยะของหลุมปลูก ควรห่างประมาณ 45 × 45 ซ.ม. ทำให้พุ่มโปร่งถ่ายเทอากาศได้สะดวก มีความแข็งแรง และควรให้ปุ๋ยที่มีโบรอนเดี่ยว รดที่โคนต้น หรือจะฉีดพ่นใบตามลักษณะอาการ

ไอเอส ยารักษาโรคดาวเรือง โรคราต่างๆ

ไอเอส ยารักษาโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้ง และป้องกันโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา อัตราส่วนการใช้ 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นให้ครอบคลุมบริเวณที่มีการระบาด 2-3 ครั้ง ระยะห่างระหว่างครั้ง 7-15 วัน ตามความรุนแรงของอาการ

บำรุงดาวเรื่องให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรค

ฉีดพ่นด้วย FK-1 เพื่อส่งเสริมให้ดาวเรืองฟื้นตัวเร็ว และกลับมาเจริญเติบโต สมบูรณ์ แข็งแรง ออกดอกได้ดีอีกครั้ง ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก N-P-K แคลเซียม แมกนีเซียม สังกะสี ที่จะส่งเสริมให้พืช เจริญเติบโตได้อย่างสมบูรณ์ แข็งแรง ด้วย ธาตุอาหารที่พืชจำเป็นต้องใช้ อย่างครบถ้วน

สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset.org/html5/customer_update_add_self.aspx

ไลน์ไอดี FarmKaset
โทร 090-592-8614

อ้างอิง :
ออลล์เกษตร. (ม.ป.ป.). โรคและแมลงศัตรูพืชของดาวเรือง. ค้นข้อมูล 15 มีนาคม 2561, จาก
 allkaset.com/contents/.
Satja Prasongsap. (2559). ดาวเรือง. ค้นข้อมูล 7 มีนาคม 2561, จาก hort.ezathai.org/?p=5446.
daorueng1110.blogspot.com/2018/05/blog-post_31.html

Comments

Popular posts from this blog

โรคของพืชตระกูลมะเขือ มะเขือใบเหลือง มะเขือใบไหม้ มะเขือใบแห้ง ใบด่าง โรคมะเขือจากเชื้อรา และการป้องกันกำจัด

โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคใบจุดมะพร้าว โรคมะพร้าวต่างๆ ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส

แก้โรค ทุเรียนกิ่งแห้ง ทุเรียนยอดแห้ง ทุเรียนก้านธูป ด้วยการฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องก้นและยับยั้งเชื้อรา