โรคใบจุดกล้วย การป้องกัน และรักษาอาการ โรคกล้วยใบจุด

โรคใบจุดกล้วย

โรคใบจุดกล้วย

Phaeoseptoria musae Punith., Kew Bull. 31(3): 469 (1977)
ชื่อศัตรูพืช (Name of pest)
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name)  Phaeoseptoria musae Punith., Kew Bull. 31(3): 469 (1977)
ชื่อพ้อง (Synonym)  

ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic information)
Phylum  Ascomycota
    Class  Dothideomycetes
       Order  Pleosporales
          Family  Phaeosphaeriaceae
             Genus  Phaeoseptoria
             Species  musae
              Race/Pathover  

ชื่อโรค (Disease name)
ชื่อโรคภาษาไทย (Disease name, Thai)  โรคใบจุดกล้วย
 
ชื่อโรคภาษาอังกฤษ (Disease name)  Leaf spot of banana

ลักษณะอาการของ โรคใบจุดกล้วย (Disease symptoms and developments)
อาการพบได้ทั้งบริเวณหน้าใบและหลังใบ แต่พบลักษณะชัดเจนบริเวณหน้าใบ กลางแผลมีสีน้ำตาลอ่อนจนถึงเทา รอบๆ แผลมีสีน้ำตาลเข้มหรือสีเหลือง ส่วนของพืชที่ถูกทำลาย: ใบ
 
พืชอาศัย (Host range)
พืชอาศัยหลัก (Main host)

กล้วย, พืชสกุลกล้วย : banana (Musa sp.)
พืชอาศัยอื่นๆ (Other host)

ธรรมรักษา : heliconia (Heliconia sp)
แหล่งที่มาของเชื้อ (Source of inoculums)
ใบของกล้วยที่เป็นโรค แพร่กระจายโดยลม ระบาดไปกับลม จึงลุกลามจากต้นสู่ต้น ติดต่อกันไปได้ในวงกว้าง

การแพร่กระจาย (Distribution)
พบแพร่ระบาดในประเทศไทย เช่น จังหวัดเชียงใหม่ และทั่วทุกจังหวัดในประเทศไทย

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของการเกิดโรค (Favorable condition)

วิธีการควบคุม โรคใบจุดกล้วย (Control measure)

การควบคุมโรคใบจุดกล้วย และการ รักษาอาการกล้วยใบจุด ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ผสมน้ำในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วบริเวณที่มีการระบาด ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง ระยะห่างต่อครั้งประมาณ 7 วัน

การบำรุงต้นกล้วย ให้ฟื้นตัวจากโรคใบจุดกล้วย

ฉีดพ่นด้วย FK-1 ที่ประกอบด้วย N-P-K, ธาตุรอง, ธาตุเสริม ผสมในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นเพื่อส่งเสริม บำรุงให้กล้วย ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคได้เร็วขึ้น และเสริมสร้างให้ต้นกล้วยเจริญเติบโต กลับมาสมบูรณ์แข็งแรง และให้ผลผลิตที่ดีขึ้น

ยารักษา โรคใบจุดกล้วย กล้วยใบจุด

สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset.org/html5/customer_update_add_self.aspx

ไลน์ไอดี FarmKaset
โทร 090-592-8614

เอกสารอ้างอิง (Reference)
[1] Ebbels, D.L., and Allen, D.J. 1979. A supplementary and annotated list of plant diseases, pathogens and associated fungi in Tanzania. Phytopathol. Pap. 22: 1-89. (6827)
[2] Photita, W., Lumyong, S., Lumyong, P., Hyde, K.D., and McKenzie, E.H.C. 2002. Index of fungi described from the Musaceae. Mycotaxon 81: 491-503. (36728)
[3] Punithalingam, E. 1983. Phaeoseptoria musae. C.M.I. Descr. Pathog. Fungi Bact. 772: 1-2. (7102)
[4] ippc.acfs.go.th/pest/G001/T008/FUNGI153

Comments

Popular posts from this blog

โรคของพืชตระกูลมะเขือ มะเขือใบเหลือง มะเขือใบไหม้ มะเขือใบแห้ง ใบด่าง โรคมะเขือจากเชื้อรา และการป้องกันกำจัด

โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคใบจุดมะพร้าว โรคมะพร้าวต่างๆ ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส

แก้โรค ทุเรียนกิ่งแห้ง ทุเรียนยอดแห้ง ทุเรียนก้านธูป ด้วยการฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องก้นและยับยั้งเชื้อรา