โรคมะระเหี่ยวตาย โรคราน้ำค้างในมะระ มีสาเหตุจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส

ผลมะระ

โรคมะระเหี่ยวตายเนื่องจากเชื้อรา 

มะระที่เป็นโรคนี้จะแสดงอาการใบล่าง เหลือง และเหี่ยวตายอย่างรวดเร็วทั้งเถา บางต้นจะมีรอยแตกหรือรอยช้ำสีน้ำตาล ตามเถาหรือตามโคนก้านใบก่อนที่จะตายไป

เชื้อราที่ทำให้เกิดโรคนี้ ชอบเกิดในดินที่เป็นกรด ดินปนทรายมาก ๆ  และดินที่ใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์มาก ควรป้องกันโดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยคอกมาก ๆ  ลดการใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ลง และถ้าจะปลูกซ้ำที่เดิมควรปรับดินด้วยปูนขาวและใส่ปุ๋ย คอกมาก ๆ เพื่อให้ดินร่วนซุย

โรคราน้ำค้าง ในมะระ

เกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่ง อาการที่แสดงคือ ใบมะระ จะมีผลสี่หลี่ยมสีน้ำตาลประปรายทำให้ใบแห้งเหลือง เวลาที่อากาศชื้นจะสังเกต เห็นด้านท้องใบมีขุยของราสีขาวอมม่วงอ่อนขึ้นบนแผลนั้น การป้องกันกำจัดควรฉีดพ่นยาป้องกันเชื้อรา เช่น ไซเนบ มาเนบ หรือยาชนิดอื่น แต่ไม่ควรใช้เบนโนมิล เพราะไม่สามารถป้องกันกำจัดเชื้อราชนิดนี้ได้

ยาแก้ โรคราน้ำค้าง มะระ โรคมะระเหี่ยวตาย

สั่งซื้อได้ที่ http://www.farmkaset.org/html5/customer_update_add_self.aspx

ไลน์ไอดี FarmKaset

โทร 090-592-8614


อ้างอิง thaikasetsart.com/มะระพืชตระกูลแตง/

Comments

Popular posts from this blog

โรคของพืชตระกูลมะเขือ มะเขือใบเหลือง มะเขือใบไหม้ มะเขือใบแห้ง ใบด่าง โรคมะเขือจากเชื้อรา และการป้องกันกำจัด

โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคใบจุดมะพร้าว โรคมะพร้าวต่างๆ ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส

แก้โรค ทุเรียนกิ่งแห้ง ทุเรียนยอดแห้ง ทุเรียนก้านธูป ด้วยการฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องก้นและยับยั้งเชื้อรา