What will the puppy be like? When their owner is back, after having to w... Get link Facebook X Pinterest Email Other Apps By PHOENIX - November 01, 2020 ลูกหมาจะเป็นอย่างไร เมื่อคุณแม่ของมันกลับมา หลังจากที่ต้องรออยู่สองสามวัน Get link Facebook X Pinterest Email Other Apps Comments
โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคใบจุดมะพร้าว โรคมะพร้าวต่างๆ ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส By PHOENIX - August 16, 2020 โรคที่สำคัญของมะพร้าว โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคยอดเน่ามะพร้าว (Heart leaf rot) เกิดจากเชื้อรา Pythium sp. โรคนี้มกพบบ่อยในระยะต้นกล้า ในสภาพที่มีฝนตกชุก และอากาศมีความชื้นสูง ต้นด้านหน้าแสดงอาการมะพร้าวใบไหม้ ต้นด้านหลังเป็นอาการมะพร้าวยอดเน่า และลุกลามไปทั้งต้น เนื่องจากไม่รีบป้องกันกำจัด (ขอบคุณภาพถ่ายจากลูกค้า เพจ ฟาร์มเกษตร) ลักษณะอาการ โรคยอดเน่ามะพร้าว ระยะแรกจะพบแผลเน่าสีดำบริเวณตรงโคนยอด จากนั้นจะขยายลุกลามต่อไปจนทำให้ใบย่อยทั้งใบแห้งเป็นสีน้ำตาล สามารถดึงหลุดออกได้ง่าย ต้นกล้าจะเหี่ยวเฉาและแห้งตายไปในที่สุด หากเกิดกับมะพร้าวใหญ่ อาจมีทางใหม่เกิดขึ้นแต่ใบจะผิดปกติ ก้านทางจะสั้น มีใบย่อยเล็กๆ เกิดเฉพาะบริเวณปลายก้านทาง การป้องกันกำจัด โรคมะพร้าวยอดเน่า ในการย้ายต้นกล้าอย่าพยายามให้หน่อช้ำ เพราะโรคอาจจะเข้าทำลายได้ง่าย หากพบอาการของโรคในระยะแรกให้ตัดส่วนที่เป็นโรคออก แล้วฉีดพ่นด้วยสารฆ่าเชื้อราที่มีสารประกอบทองแดง ต้นกล้าหรือส่วนที่โรคทำลายให้เผาทำลายให้หมดเพื่อป้องกันการทำลายต่อไป ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ Read more
โรคของพืชตระกูลมะเขือ มะเขือใบเหลือง มะเขือใบไหม้ มะเขือใบแห้ง ใบด่าง โรคมะเขือจากเชื้อรา และการป้องกันกำจัด By PHOENIX - August 09, 2020 โรคต่างๆ ของพืชตระกูลมะเขือ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคเหี่ยว มะเขือใบไหม้ มะเขือใบเหลือง (Verticillium wilt) ที่เกิดจากเชื้อรา Verticillium Verticillium spp. เป็นราที่พบในดินเกือบทุกชนิด และทุกแห่ง โดยเฉพาะประเทศในเขตอบอุ่นและเขตร้อนของโลก ก่อให้เกิดโรคกับพืชต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวางเกือบ 200 ชนิด ทั้งพืชไร่ พืชสวน ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผักและวัชพืชต่าง ๆ เฉพาะผักที่ถูกเชื้อนี้เข้าทำลายและก่อให้เกิดความเสียหาย ได้แก่ แตงต่างๆ เช่น แตงกวา แตงร้าน แตงโม กระเจี๊ยบ มะเขือยาว มะเขือเปราะ พริก มะเขือเทศ มันฝรั่ง ฯลฯ นอกจากนี้ยังพบว่ามีผักต่าง ๆ อีกหลายชนิดที่เชื้อราตัวนี้เข้าทำลาย แต่ไม่ทำความเสียหายมากเท่ากับผักพวกที่กล่าวแล้ว ได้แก่ พวกถั่วต่าง ๆ หน่อไม้ฝรั่ง (asparagus) กะหล่ำต่าง ๆ บรอคโคลี ขึ้นฉ่าย (celery) หอมหัวใหญ่ กระเทียม ผักสลัด ผักกาดหัว แต่ธัญพืช เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ไม่ปรากฏว่าราพวก Verticillium ทำความเสียหายแต่อย่างใด อาการ : แม้พืชได้รับเชื้อตั้งแต่ระยะต้นอ่อน แต่จะแสดงอาการให้เห็นจนกว่าต้นโตขึ้นมาถึงระยะหนึ่งจึงเริ่มแสดงอาการแคระแกร็น (stunt) หยุดการเจริญเติบโต ต่อมาต้นใบจะ Read more
แก้โรค ทุเรียนกิ่งแห้ง ทุเรียนยอดแห้ง ทุเรียนก้านธูป ด้วยการฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องก้นและยับยั้งเชื้อรา By PHOENIX - July 12, 2020 อาการทุเรียนกิ่งแห้ง หรือทุเรียนยอดแห้ง บางครั้งบริเวณกิ่งมีรอย เชื้อราสีขาว เป็นดวงๆบริเวณกิ่ง เกิดจาก เชื้อราฟิวซาเรียม โซลาไน (Fusarium solani) ส่วนอาการโรค ทุเรียนรากเน่า โคนเน่า เกิดจาก เชื้อราไฟทอปทอร่า พาลมิวอร่า (Phytophthora palmivora) อาการของ ทุเรียนโคนเน่า คือจะมีแผลสีน้ำตาลเข้มบริเวณโคนต้น การรักษาโรคทุเรียน ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆนั้น ทำได้โดยการ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้ง และป้องกันโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ซึ่งหลักการทำงานของตัวยานั้น จะเข้าไปทำให้เชื้อราฝ่อ ไม่สามารถลุกลามขยาย สร้างความเสียหายเพิ่มเติมต่อไปได้ จำกัดการลุกลามความเสียหายไว้แค่นั้น หากจะพูดให้เข้าใจง่ายๆคือเป็นลักษณะ คล้ายกับว่าทำหมันเชื้อรา ไม่ให้ขยายลุกลาม และทำให้ เชื้อราฝ่อตายลงไปในที่สุด การหายจากโรคเชื้อรานั้น สังเกตุได้คือ เชื้อราจะหยุดความเสียหาย ไม่ได้ลุกลามต่อ ไม่ได้หมายความคว่า ใบที่แห้งไหม้ จะกลับมาเหมือนเดิม ส่วนกิ่งที่แห้งนั้น มีโอกาสที่จะค่อยๆหายและกลับมาเจริญเติบโตได้อีกอย่างช้าๆ เหมือนคนที่ฟื้นตัวจากโรค เช่นนี้แล้ว การจะทำให้ทุเรียที่กิ่งแห้ง เมื่อหายจากโรคต่างๆจากเชื Read more
Comments
Post a Comment