การป้องกันกำจัด โรคราดำทุเรียน (Sooty mold) ต้องกำจัดเพลี้ย ยับยั้งโรครา และบำรุงให้แข็งแรง



โรคราดำทุเรียน (Soot mold) มีสาเหตุจากเชื้อรา สามารถลุกลามระบาดได้รวดเร็ว ส่งผลต่อคุณภาพผลผลิตโดยตรง ทำให้เสียหาย และขายไม่ได้ราคา


ลักษณะอาการของ โรคราดำทุเรียน


ผลของทุเรียน จะพบราสีดำเป็นจุดๆ กระจายทั่วผลทุเรียน ทำให้มองเป็นเป็นฟื้นสีดำ สร้างความเสียหายให้กับผลทุเรียน ดูไม่สะอาด ไม่เป็นที่ต้องการของตลาด โรคราดำดี้ สามารถแพร่กระจาย ลุกลามไปทั่วสวนได้ หากไม่เร่งป้องกันกำจัด


การแพร่ระบาดของโรคราดำทุเรียน


การระบาดของราดำนั้น มีเพลี้ยต่างๆเป็นแมลงพาหา ขับถ่ายของเหลว มีความเหนียวลงบนผิวเปลือกทุเรียน ทำให้ราดำที่ปลิวมากับอากาศ เกาะติดผลทำเรียนได้ง่าย และลุกลามระบาดออกไปเป็นวงกว้าง


การป้องกันกำจัดโรคดาดำในุเรียน 


เนื้องจากโรคราดำทุเรียนนั้น มีเพลี้ยต่างๆเป็นแมลงพาหะ และมีโรคราดำที่ติดต่อ ระบาดลุกลาม เราจึงต้อง กำจัดเพลี้ย ยับยั้งรา และบำรุงทุเรียนให้แข็งแรงในคราวเดียวกัน


1. ผสม ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา มาคา สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดเพลี้ย และ FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อยับยั้งการระบาดลุกลาม 


1.1 อัตราผสม ตามส่วนผสมที่แนะนำ ของสินค้าแต่ละตัว รายละเอียดด่านล่างบนความนี้


2. การสังเกตุว่าโรคราดำถูกกำจัดแล้วหรือยัง ให้สังเกตุการระบาดลุกลาม รอยดำไม่ขยายขึ้น และไม่ระบาดเพิ่มพื้นที่มากขึ้น เนื่องจากราดำที่ฝ่อตายลงไปแล้ว ก็จะยังติดอยู่บนของเหลวเหนี่ยว ที่เพลี้ยต่างๆถ่ายไว้ บนผลทุเรียน


3. การฉีดพ่นป้องกันไว้ เป็นวีธีป้องกันที่ดี และสะดวกกว่าการกำจัดเพื่อพบโรคระบาดมากแล้ว


อ้างอิง https://www.doa.go.th/share/attachment.php?aid=2976


พืชที่เป็นโรคจากเชื้อรานั้น จะมีความอ่อนแอลง ใบพืชถูกทำลาย พื้นที่สีเขียวลดลง ขาดความสมบูรณ์แข็งแรง สังเคราะห์แสง ปรุงอาหารได้ไม่ดี จึงทำให้พืชที่ติดโรคนั้น มีอาหารชะงักการเจริญเติบโตด้วย การให้เฉพาะยารักษาโรคนั้น เมื่อราฝ่อตายไปแล้ว แต่พืชก็ยังทรงๆ ฟื้นตัวได้ช้า เพราะยังไม่สามารถพัฒนาการเจริญเติบโตได้เต็มที่ เพราะอ่อนแอ ระบบราก ต้น ใบไม่สมบูรณ์ เราจึงแนะนำให้ ผสม FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ไปกับ ไอเอส ทุกครั้ง เพื่อกระตุ้นให้พืชฟื้นตัว แตกยอดใบ เสริมสร้างเนื้อเยื่อใหม่ ฟื้นตัวได้เร็วขึ้น กลับมาเจริญเติบโต สมบูรณ์ได้ดังเดิม

สรุปโดยสังเขป


FK-1 เร่งโต สร้างความสมบูรณ์
เหมาะสำหรับเร่งโต ใช้ฉีดพ่นตั้งแต่ต้นกล้า ต้นเล็ก ต้นโต ไปจนก่อนติดดอกออกผล
อัตราผสม แกะกล่องออกมามีสองถุง ต้องใช้พร้อมกัน ถุงละ สองช้อนโต๊ะ(50กรัม) ต่อน้ำ 20ลิตร

ไอเอส แก้รา ใบไหม้ ใบจุด
สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งโรคพืช จากเชื้อรา ทำให้เชื้อราฝ่อ ตาย ไม่สามารถลุกลามต่อไปได้
อัตราผสม 50ซีซี(ครึ่งขวดลิโพ) ต่อน้ำ 20ลิตร

FK-3 เร่งผลผลิต
ใช้ฉีดพ่นตอนเริ่มติดผล ให้ค่า K หรือ ธาตุโพแทสเซียมในปริมาณสูง ทำให้ผลโตไว น้ำหนักดี มีคุณภาพ
อัตราผสม แกะกล่องออกมามีสองถุง ต้องใช้พร้อมกัน ถุงละ สองช้อนโต๊ะ(50กรัม) ต่อน้ำ 20ลิตร

มาคา สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดเพลี้ยต่างๆ
ป้องกันกำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืชจำพวกปากดูดต่างๆ (กำจัดแมลงจำพวกปากกัด แมลงปีกแข็งต่างๆไม่ได้)
อัตราผสม 50ซีซี(ครึ่งขวดลิโพ) ต่อน้ำ 20ลิตร

ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ป้องกันกำจัดหนอน
สารชีวินทรีย์ เรียนอีกอย่างคือ ชีวภาพนั่นเอง ไอกี้-บีที เป็นแบคทีเรียแกรมบวก ที่คัดสายพันธุ์มาให้ออกฤทธิ์ทำลายเฉพาะ ตระกูลหนอนต่างๆเท่านั้น จึงไม่อันตรายต่อสัตว์ชนิดอื่นๆเลย 
อัตราผสม 50กรัม(สองช้อนโต๊ะ) ต่อน้ำ 20ลิตร

ยาทุกตัวจากเรา ปลอดภัยต่อคน ต่อสัตว์เลี้ยงต่างๆ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

กรุณากดเล่นวีดีโอด้านล่างนี้ เพื่อดูรูปภาพ และรายละเอียดสินค้าแต่ละตัวข้างต้น

การสั่งซื้อ เราส่งฟรีถึงบ้าน ชำระเงินปลายทาง
สามารถเลือกช่องทางที่สะดวกได้ดังนี้

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี https://line.me/ti/p/~FarmKaset 

สั่งซื้อโดยตรงกับ ฟาร์มเกษตร คลิกที่นี่

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า คลิกที่นี่ (มีให้กดเลือกว่าจะซื้อสินค้าตัวไหน)

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ คลิกที่นี่ (มีให้กดเลือกว่าจะซื้อสินค้าตัวไหน)


เลือกดูสินค้าทั้งหมดของเรา ที่ใช้กับทั้ง พืชไร่ พืชสวน ไม้ดอก ไม้ประดับ และพืชต่างๆ จาก



Comments

Popular posts from this blog

โรคของพืชตระกูลมะเขือ มะเขือใบเหลือง มะเขือใบไหม้ มะเขือใบแห้ง ใบด่าง โรคมะเขือจากเชื้อรา และการป้องกันกำจัด

โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคใบจุดมะพร้าว โรคมะพร้าวต่างๆ ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส

แก้โรค ทุเรียนกิ่งแห้ง ทุเรียนยอดแห้ง ทุเรียนก้านธูป ด้วยการฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องก้นและยับยั้งเชื้อรา